ปัญหาเด็กและเยาวชนในนวนิยายแปลญี่ปุ่นเรื่อง The witch’s house -บันทึกของเอเลน-

ศึกษาปัญหาของเด็กและเยาวชน และการนำเสนอปัญหาในรูปแบบของความแฟนตาซีที่สอดแทรกในนวนิยายแปลญี่ปุ่น เรื่อง The witch’s house -บันทึกของเอเลน-

การศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมแปลญี่ปุ่น เรื่องคำสารภาพ

ศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบของวรรณกรรมเรื่อง คำสารภาพ ทั้งโครงเรื่อง แก่นเรื่อง ตัวละคร บทสนทนา ฉากและบรรยากาศ และคุณค่าของวรรณกรรมเรื่อง คำสารภาพ

เสียงประท้วงผ่านวรรณกรรม ในงานของนักเขียนกลุ่มบุไรฮะ : กรณีศึกษา บุไรฮะ รวมผลงานของนักเขียนกลุ่มปฏิปักษ์สังคม

ศึกษาบริบททางสังคมและประวัติของนักเขียนกลุ่มบุไรฮะในหนังสือ บุไรฮะ รวมผลงานของนักเขียนกลุ่มปฏิปักษ์สังคม และผลงานวรรณกรรมของนักเขียนกลุ่มบุไรฮะในฐานะกระบอกเสียงเรียกร้องและวิพากษ์สังคมญี่ปุ่นในยุคไทโชและโชวะ

การศึกษาเปรียบเทียบสำนวนจีนและสำนวนไทยที่มีคำเกี่ยวกับอาหารการกิน

ศึกษาเปรียบเทียบความหมาย และภาพสะท้อนด้านวัฒนธรรมการกินของสำนวนจีนและสำนวนไทยที่มีคำเกี่ยวกับอาหารการกิน

ความเป็นมนุษย์และความสัมพันธ์ของมนุษย์ที่สะท้อนผ่านนวนิยายเรื่อง “บิเบลีย บันทึกไขปริศนาแห่งร้านหนังสือ”

ศึกษาแนวคิดความเป็นมนุษย์และแนวคิดความสัมพันธ์ของมนุษย์ผ่านนวนิยายเรื่องบิเบลีย บันทึกไขปริศนาแห่งร้านหนังสือ เล่มที่ 1-7

แนวคิดและกลวิธีการในตั้งชื่อของเกมเกนชิน อิมแพ็ค

ศึกษาแนวคิดและกลวิธีการตั้งชื่อของตัวละคร อาวุธ และอาร์ติแฟกต์ในเกมเก็นชิน อิมแพ็ค

ความรักและชีวิตของวัยรุ่นในบทเพลงเกาหลี กรณีศึกษา วง TOMORROW X TOGETHER

ศึกษาความรักและชีวิตของวัยรุ่น ผ่านทางบทเพลงของศิลปินเกาหลีวง TOMORROW X TOGETHER รวมถึงศึกษาภาพพจน์ที่ปรากฏในเนื้อเพลง

สังคมญี่ปุ่นในนวนิยาย “มนุษย์ร้านสะดวกซื้อ (コンビニ人間)”

วิเคราะห์สภาพสังคมญี่ปุ่นที่ปรากฏในนวนิยาย “มนุษย์ร้านสะดวกซื้อ (コンビニ人間)”

การตั้งชื่ออาหารเวียดนามในประเทศไทย

ศึกษาองค์ประกอบและโครงสร้างของชื่ออาหารเวียดนามในประเทศไทยและในประเทศเวียดนาม เปรียบเทียบชื่ออาหารเวียดนามในประเทศไทยและในประเทศเวียดนาม และศึกษาวัฒนธรรมที่สะท้อนจากชื่ออาหารเวียดนามในประเทศไทยและประเทศเวียดนาม

กลวิธีการแปลชื่ออาหารเกาหลีเป็นภาษาไทย: กรณีศึกษาร้านอาหารเกาหลี “ดูเร” ในประเทศไทย

เพื่อศึกษากลวิธีการแปลชื่ออาหารเกาหลีเป็นภาษาไทยและศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการแปลชื่ออาหารเกาหลีเป็นภาษาไทย